ประวัติความเป็นมา
- หน่วยความจำหลัก (memory) รวมทั้งหมด 72 กิโลไบท์
- หน่วยความจำช่วย (drum memory) 64 กิโลไบท์
- เครื่องเจาะและอ่านเทป 7 เครื่อง
- หน่วยประมวลสัญญาณกลาง (CPU) 2 เครื่อง
ขออนุมัติจัดตั้งสำนัก
อนุมัติให้จัดตั้ง
- หน่วยประมวลผลกลางที่มีหน่วยความจำหลักขนาด 24 MB และหน่วยความจำ cache ขนาด 16 KB ดิสมีความจุขนาด 3.8 GB
- หน่วยอ่านเขียนบันทึกเทปแม่เหล็ก 2 เครื่อง
- เครื่องพิมพ์จำนวน 2 เครื่อง
- อุปกรณ์ควบคุมการสื่อสารข้อมูลแบบ B4670 LAN และแบบ CCITT V.24
- เทอร์มินัลชนิด NEC APC-III จำนวน 3 ชุด
- NEC APC-IV จำนวน 54 ชุด
- จอภาพกราฟิก
- เครื่องพล๊อตเตอร์จำนวนหนึ่ง
งานด้านพัฒนาระบบสารสนเทศ รับผิดชอบพัฒนาระบบสารสนเทศสำหรับบริหารงานสถาบันฯ (KMIS: KMITL Management Information System) เพื่อใช้ในงานบริหาร อาทิเช่น ประมวลผลนักศึกษา งานเงินเดือน งานการเงินและบัญชี งานบริหารใช้ห้องเรียน อาคารสถานที่และสาธารณูปโภค และงานบริหารพัสดุ ฯลฯ
งานด้านการวิจัย
บุคลากรสำนักวิจัยฯ ศึกษาค้นคว้าด้านคอมพิวเตอร์และสาขาที่เกี่ยวข้อง ปัจจุบันโครงการวิจัยในแขนงวิชา: การพัฒนาระบบภาพตัดขวางร่างกายโดยใช้เทคนิค Computerized Tomography งานวิจัยด้าน NMR(Nuclear Magnetic Resonance) การออกแบบวงจรขนาดใหญ่มาก (VLSI Design) การออกแบบไมโครโปรเซสเซอร์ การพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน/ระบบบริหารการเรียนการสอน ( CBI/BMI :Computer-Based/Comuper-Managed Instruction) เครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์สื่อสารข้อมูล การจำแนกเสียงภาษาไทย การจำแนกอักษรภาษาไทย การพัฒนาระบบแปลภาษา (Machine Translation) ฯลฯ
นอกจากนี้ในปีพศ 2534 - 2535 สำนักวิจัยมีโครงการซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์เพื่อออกแบบ (CAD: Computer Aided Design) และจัดตั้งศูนย์คอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบ (CAD Center)
- เครื่องคอมพิวเตอร์ความเร็วสูงมาก (นวมาศ: Nawamas)
- เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายบริการอินเตอร์เน็ต (เจ้าคุณ: Chaokhun) SUN Sparc 2000
- เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายบริการโปรแกรมประยุกต์ (แคแสด: Khaesad) SUN Sparc 2000
- เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายระบบฐานข้อมูล (ร่มเกล้า: Romklao) HP T520
- เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายบริการหลักประจำคณะ (Faculty servers)
- เครื่องคอมพิวเตอร์แบบ X-terminal 119 เครื่อง
- ระบบกริดคอมพิวเตอร์หรือคลัสเตอร์คอมพิวเตอร์ (Grid or Cluster computer)
- ไลเซนส์ซอฟท์แวร์ (licensed software) สำหรับงานออกแบบทางวิศวกรรมศาสตร์ เช่น CATIA, MatLab, Mathematica เป็นต้น
- ระบบการเรียนการสอนออนไลน์ หรือ E-learning
- ระบบการเรียนการสอนหรือการประชุมทางไกล (Video Conference)
- ระบบเครือข่ายไร้สาย (wireless LAN and access points) ครอบคลุมการใช้งานทั่วทั้งสถาบันฯ
- ระบบสนับสนุนด้านประสิทธิภาพและความปลอดภัยของการให้บริการต่างๆ บนคอมพิวเตอร์เซอร์ฟเวอร์ของสถาบันฯ